เด็ก ม.6 สอบติดใช้แบบนี้! แจกเทมเพลต Portfolio ที่ใช้สมัครจริง พร้อมเทคนิคเขียนแบบสอบติด

portfolio

Portfolio คืออะไร ?

Portfolio หรือแฟ้มสะสมผลงาน คือเอกสารที่รวบรวมผลงาน กิจกรรม และความสามารถของเราในรูปแบบที่เป็นระบบและสร้างสรรค์ สามารถจัดเรียงหน้าเพื่อความสะดวกในการนำเสนอ เป็นอีกสิ่งสำคัญสำหรับการสมัครมหาวิทยาลัยในรอบ Portfolio ซึ่งมหาวิทยาลัยหลายแห่งในประเทศไทยใช้เป็นเกณฑ์ในการพิจารณาแทนการสอบข้อเขียนหรือการใช้คะแนนสอบมาตรฐาน โดยส่วนมากจะเน้นไปที่ผลงานเด่นที่นักเรียนได้ทำมาในช่วงมัธยม

ความสำคัญของการทำ Portfolio

การทำ Portfolio เป็นการนำเสนอความสามารถและศักยภาพของผู้สมัครในรูปแบบที่มีเอกลักษณ์เพื่อนำเสนอตัวตนและดึงดูดสายตา อาจารย์ที่พิจารณาจะสามารถเห็นถึงความตั้งใจ ทักษะ และคุณสมบัติที่เหมาะสมต่อสาขาวิชาที่ผู้สมัครสนใจ อีกทั้ง Portfolio ยังช่วยแสดงให้เห็นว่าผู้สมัครมีความมุ่งมั่นในการเรียนต่อในสาขาที่ตนเองเลือก

คำแนะนำสำหรับการทำ Portfolio

  1. สร้างสรรค์และโดดเด่น : ใช้การออกแบบที่สื่อถึงตัวตนของผู้สมัคร แต่ต้องไม่รกหรือดูยากเกินไป
  2. เรียบง่ายและชัดเจน : จัดเรียงเนื้อหาให้เป็นระเบียบ โดยใช้หัวข้อย่อยและภาพประกอบที่เหมาะสม
  3. เน้นคุณภาพมากกว่าปริมาณ : คัดเลือกผลงานที่ดีที่สุดและเกี่ยวข้องกับสาขาที่สมัคร
  4. ตรวจสอบความถูกต้อง : เช็กคำสะกดและความครบถ้วนของข้อมูลก่อนส่ง

รอบ Portfolio เหมาะกับใคร

การสมัครรอบ Portfolio เหมาะสำหรับนักเรียนที่มีผลงานเด่นเฉพาะด้าน เช่น วิชาการ กีฬา ศิลปะ ดนตรี หรือกิจกรรมอื่นๆ ที่แสดงถึงความสามารถเฉพาะตัว ผู้สมัครควรมีความมุ่งมั่นและสามารถสื่อสารศักยภาพของตนเองผ่าน Portfolio ได้อย่างชัดเจน

4 ข้อควรรู้ก่อนยื่นรอบ Portfolio

  1. ศึกษาข้อกำหนดของแต่ละมหาวิทยาลัย : ตรวจสอบว่ามหาวิทยาลัยต้องการอะไรใน Portfolio
  2. เตรียม Portfolio ล่วงหน้า : ใช้เวลาสร้าง Portfolio ให้เสร็จสมบูรณ์ก่อนถึงวันยื่น
  3. เข้าร่วมเวิร์กช็อปหรือขอคำปรึกษา : เพื่อเรียนรู้การสร้าง Portfolio อย่างมีประสิทธิภาพ
  4. จัดเตรียมเอกสารเพิ่มเติม : เช่น ใบรับรองการศึกษา หรือใบแสดงความสามารถพิเศษ

Portfolio ควรมีอะไรบ้าง ?

    1. หน้าปก ที่ออกแบบสื่อถึงตัวตน
    2. ข้อมูลส่วนตัว เช่น ชื่อ-นามสกุล วันเกิด ที่อยู่ การติดต่อ
    3. เป้าหมายการเรียนต่อ และแรงบันดาลใจ
    4. ประวัติการศึกษา พร้อม เกรดเฉลี่ย (GPAX) และรางวัลต่าง ๆ
    5. ผลงานและกิจกรรมเด่น เช่น งานศิลปะ แข่งขันคณิต เอกสารรับรอง
    6. ภาพถ่ายประกอบ ที่ชัดเจนและดูเป็นมืออาชีพ
    7. จดหมายแนะนำ (ถ้ามี) จากครูหรือผู้เกี่ยวข้อง

ข้อมูลควรใส่ในพอร์ต

📌 ชื่อ นามสกุลจริง ใส่ให้ถูกต้อง ที่อยู่ที่สามารถติดต่อ รับ – ส่งเอกสารได้ 

📌 ช่องทางการติดต่อที่สามารถติดต่อได้ 

📌 ผู้ปกครอง และเบอร์ติดต่อ ในกรณีฉุกเฉิน

📌 ภาพถ่ายที่ชุดเจน รูปสุภาพ

ข้อมูลทางการศึกษา

           📌เรียงตามระดับชั้น

  • 📌ชื่อโรงเรียนชัดเจน
  • 📌เกรดเฉลี่ย
  • 📌กิจกรรมเด่นหรือหน้าที่ในโรงเรียน

การเขียนเป้าหมายทางการศึกษา ต้องบอกเล่าพื้นฐานของตัววเองที่เกี่ยวข้องกับคณะสาขา ความสนใจในการเรียน แรงจูงใจทำไมต้องเข้าคณะนี้ และเป้าหมาย รวมถึงแพลนในอนาคต เช่น เรียนจบไป อยากทำอาชีพอะไร เป็นต้น

กิจกรรม / ผลงาน

📌เขียนรายละเอียดรางวัล และชื่อกิจกรรมชัดเจน 

📌มีภาพประกอบที่เหมาะสม เกี่ยวข้องกับกิจกรรม 

📌บอกรายละเอียด วัตถุประสงค์ของกิจกรรม 

📌วันที่เข้าร่วมกิจกรรม

กิจกรรมที่ทำในตอนเรียน

📌เขียนชื่อกิจกรรมชัดเจน 

📌มีภาพประกอบที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรม 

📌รายละเอียดกิจกรรมที่ทำ เช่น กีฬาสี การเข้าร่วมโครงการ 

📌หากมีรางวัล ควรใส่ผลรางวัลเพิ่มเติม

จดหมายแนะนำ

📌เพิ่มความน่าเชื่อถือในพอร์ตโฟลิโอ

📌เขียนแนะนำนักเรียน และความสัมพันธ์ของผู้เขียนชัดเจน

📌เขียนคำนิยม หรือเหตุผลที่ซัพพอร์ตให้น่าเชื่อถือ ในการเข้าคณะนี้ 

📌ผู้เขียนควรเป็นอาจารย์ที่ใกล้ชิด สามารถติดต่อได้

ข้อควรรู้ก่อนยื่นรอบ Portfolio

  1. ศึกษาข้อกำหนดของแต่ละมหาวิทยาลัย
    ตรวจสอบว่ามหาวิทยาลัยต้องการอะไรใน Portfolio การยื่นคะแนนประกอบ
  2. เตรียม Portfolio ให้พร้อมล่วงหน้า
    อย่าทำแบบเร่งด่วน ให้มีเวลาออกแบบ แก้ไข และปรับปรุง
  3. เข้าร่วม Workshop หรือขอคำปรึกษา
    โรงเรียนหรือสถาบันติวหลายแห่งมีคอร์สสอนทำ Portfolio แบบมืออาชีพ
  4. จัดเตรียมเอกสารเสริม
    ใบรับรองกิจกรรม ใบผ่านอบรม ผลสอบภาษา รูปถ่ายประกอบ ฯลฯ

เช็กเกณฑ์ของแต่ละมหาวิทยาลัย
บางแห่งกำหนด GPAX ขั้นต่ำ เช่น 2.50, 3.00 หรือเฉพาะกลุ่มวิชา เช่น วิศวะต้องผ่านคณิตศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
หลายคณะกำหนด คะแนนภาษาอังกฤษขั้นต่ำ เช่น IELTS 5.5–6.5 หรือ TOEFL

GPAX สำคัญแค่ไหน?

แม้รอบ Portfolio จะเน้น “ผลงาน” มากกว่าคะแนนสอบ แต่ GPAX ยังคงมีบทบาทสำคัญ ในหลายกรณี เช่น

  • ใช้เป็นเกณฑ์ขั้นต่ำในการสมัคร เช่น ต้องมี GPAX ไม่ต่ำกว่า 2.75 หรือ 3.00
  • บางมหาวิทยาลัยใช้ GPAX คำนวณร่วมในคะแนนรวม (เช่น คิดเป็น 30%)
  • GPAX สูงยังช่วยเพิ่มความน่าเชื่อถือของผู้สมัคร

*ควรรักษา GPAX ให้อยู่ในระดับดีตั้งแต่ ม.4–ม.6 เพื่อให้ไม่พลาดโอกาสในรอบนี้



เกณฑ์คะแนนคณะยอดฮิต: GPA & IELTS 

 

สำหรับรอบ Portfolio หลายคณะมักไม่เน้นคะแนนสอบมาก แต่ GPA และผลสอบภาษาอังกฤษมาเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาการคัดเลือก

คณะ

GPA แนะนำ

IELTS แนะนำ

แพทย์/ทันตฯ

≥ 3.80

6.5 (5.5 แต่ 6.0+ ปลอดภัย)

สถาปัตย์/นิเทศฯ

≥ 3.50

6.0 (ช่วยเพิ่มคะแนน)

วิทยาศาสตร์/วิศวะ

≥ 3.60

6.0

ภาษา/มนุษยศาสตร์

≥ 3.40

6.5 (เน้นภาษา)

เตรียมพอร์ตฯ ยังไงให้เหมาะกับแต่ละคณะ

  1. คณะ “แพทยศาสตร์ / ทันตะ”
  • เน้นพอร์ตถีงประสบการณ์แข็งแรง เช่น งานวิจัย, กิจกรรมอาสา, งานวิทยาศาสตร์แข่งขัน 
  • จัดการ Portfolio Grooming: ตรวจความครบถ้วน/จัดลำดับความโดดเด่นของกิจกรรม สำคัญเพื่อให้พอร์ตน่าจดจำ

     

  1. คณะ “นิเทศศาสตร์ / สถาปัตย์ / ศิลป์”
  • โฟกัสการนำเสนองานสร้างสรรค์ เช่น ผลงานศิลปะ, วิดีโอสั้น, งานออกแบบ
  • เตรียมพอร์ตแบบ physical หรือ digital ให้สวยงามพร้อมแสดงในวันสัมภาษณ์
  • แสดงจุดที่ชัดเจนในผลงาน และเชื่อมโยงว่าเรียนจบจะทำอะไรต่อในอนาคต

     

  1. คณะ “วิทยาศาสตร์ / วิศวกรรม / วิทยาศาสตร์สุขภาพ”
  • นอกจาก GPA สูง ควรมีโครงงานหรือเข้าค่ายวิทย์ (สอวน. / อพวช.)
  • ตัวอย่าง พอร์ตควรมีรีเฟลกชันเชื่อมโยงประสบการณ์เข้ากับเป้าหมายอาชีพ เช่น “ค่าย สอวน. ช่วยให้เข้าใจการทดลองจริง” 
  • ถ้าเป็นสายอินเตอร์ ควรมีผล IELTS และฝึกสัมภาษณ์ภาษาอังกฤษ
  •  

สิ่งที่ควรทำ ✅ & ไม่ควรทำ 🚫

ควรทำ

  1. เริ่มรวบรวมผลงานล่วงหน้า ดูตัวอย่างจากรุ่นพี่และเลือกผลงานที่แสดงความสามารถชัดเจน
  2. เขียนรีเฟลกชันง่าย ๆ  สื่อว่าทำแล้วได้อะไร และวางเป้าหมายใดต่อไป
  3. ฝึกสัมภาษณ์เหมือนจริง เพื่อให้ตอบคำถามคล่อง มั่นใจ
  4. ตรวจเอกสารให้เรียบร้อย นำ Portfolio เอกสารแนบ ใบคะแนน ไปจัดแบบเรียบร้อย ใช้แฟ้มสวยงาม และเตรียมชุดสุภาพสำหรับวันสัมภาษณ์

     

ไม่ควรทำ 🚫

  • อย่าใส่กิจกรรมที่ไม่เกี่ยวข้อง เขียนครบแต่ไม่ตรงจุด เช่น ใส่ฟรีแลนซ์ขายของออนไลน์เพื่อสมัครคณะสถาปัตย์อาจไม่ตรงประเด็น เป็นต้น
  • หลีกเลี่ยงการใส่ข้อมูลเกินจริง หรืออวดเกินจริง เพราะกรรมการอาจเจอคำถามเชิงลึก
  • ไม่ควรส่งพอร์ตแล้วเงียบไป ต้องเช็กระบบ MyTCAS ให้แน่ใจว่าเอกสารไม่ตกหล่น
  • ในวันสัมภาษณ์ อย่าลืมปิดมือถือ แต่งเรียบร้อย และมีมารยาทตามที่แนะนำ

Timeline รอบ Portfolio Dek69

อ้างอิงจากปีการศึกษา 2568 สามารถติดตามเพิ่มเติมได้ที่ระบบ TCAS (mytcas.com)

ขั้นตอน

เดือน

เปิดรับสมัคร

โดยแต่ละมหาวิทยาลัย (เกือบจบปี พ.ย.–ธ.ค.2568)

ประกาศผล

กุมภาพันธ์ 2569

ยืนยันสิทธิ์

กุมภาพันธ์ 2569

สละสิทธิ์

กุมภาพันธ์–พฤษภาคม 2569

บทความอื่นๆ เพิ่มเติม 👉 : OnDemand

คลิปแนะนำการทำ Portfolio

คอร์สปั้นคะแนน IELTS เพื่อรอบ Portfolio

คอร์ส Foundation for IELTS

คอร์ส Intensive IELTS

คอร์ส IELTS ALL PART

คอร์ส ADV Writing for IELTS

บทความอื่นๆ

ข้อเสนอพิเศษมีเวลา

วัน
ชั่วโมง
นาที
ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที
เหลือเวลาอีก
ขั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที
เหลือเวลาอีก
วัน
ชั่วโมง
นาที
วัน
ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

วัน
ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

พบกับข้อเสนอพิเศษสำหรับลูกค้าเก่า

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

วันนี้เท่านั้น! รับ ID Book ฟรีทันที

ที่สาขาออนดีมานด์

พี่ออนดี้ส่งโมเมนต์สุดพิเศษให้น้อง

ต้อนรับวันวาเลนไทน์

ดีลดี ดีลเดียวก่อนหมดวันแห่งความรัก สมัครเลย

เหลือเวลา

00
ชั่วโมง
00
นาที

โค้งสุดท้าย TPAT3 เหลือเวลา

วัน

พี่ออนดีมานด์มีตัวช่วยพิเศษ

00
วัน
00
ชั่วโมง

โค้งสุดท้ายแล้ว เหลือเวลา

00
ชั่วโมง
00
นาที

เหลือเวลา

00
วัน
00
ชั่วโมง

เหลือเวลา

00
ชั่วโมง
00
นาที

วันสุดท้ายแล้ว

เหลือเวลา
00
วัน
00
ชั่วโมง
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
วันสุดท้ายแล้ว
3 ชม สุดท้ายแล้วสมัครคอร์เลย
รับฟรี! ชุดแนวข้อสอบ TPAT3
ส่วนลดสูงสุด 1,000 บาท
ส่วนลดสูงสุด 500 บาท

นับถอยหลังก่อนสอบเข้าเตรียมอุดม (9 มี.ค. 67)

Days
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
โปรสุดท้าย NETSAT
เพื่อน้องมข. อีก 14 วันก่อนสอบ
โปรสุดท้าย เพื่อน้อง TU
อีก 1 เดือน ก่อนสอบ
ด่วน LIVEติว เลข โค้งสุดท้าย
ก่อนสอบเตรียมอุดมฯ