สรุปเนื้อหา กลไกพื้นฐานของมนุษย์ II ระบบประสาทและพฤติกรรม ม.2

💡 กลไกพื้นฐานของมนุษย์ II (ระบบประสาทและพฤติกรรม) ชีววิทยา ม.ต้น ม.2 เทอม 1

🕑 00:0006:19 โครงสร้างของระบบประสาท
🕑 06:1919:25 ระบบประสาทส่วนกลาง

 

🎁 สำหรับลูกค้าใหม่ เรียนกับออนดีมานด์ ได้มากกว่า
🔖 มากกว่าด้วย Welcome Pack รับส่วนลดทันที 300 บาท เพียงกรอกโค้ด : NEW300

🖋️ คอร์ส 2136 กลไกพื้นฐานของมนุษย์ II (ระบบประสาทและพฤติกรรม)
✨ โปรโมชั่นสุดพิเศษนี้ มีถึงวันที่ 31 พฤษภาคมนี้เท่านั้น
🩺 สรุปเรื่อง โครงสร้างของหัวใจ
💉 สอนโดย พี่วิเวียน ออนดีมานด์
💉 นพ.วีรวัช เอนกจำนงค์พร
🏆 แพทยศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
🏆 คะแนนสูงสุดเป็นอันดับ 1 สอบเข้าคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
🏆 คะแนนสูงสุดอันดับ 1 วิชาชีววิทยา ในการสอบเข้ามหาวิทยาลัย
⛑️ เทคนิค “Bio Map” ตัวช่วยให้น้องๆ เข้าใจ และจัดลำดับความคิดได้อย่างเป็นระบบ
⛑️ เข้าใจพื้นฐานแน่น เพื่อทำโจทย์ได้ทุกแนว ทุกสนามสอบ

#การทำงานของระบบประสาท #ระบบประสาทสรุป #กลไกการเกิดพฤติกรรม #การพัฒนาระบบประสาท #ระดับพฤติกรรมแบบใดที่ไม่พบในมนุษย์ #ระบบประสาทอัตโนวัติ

 

โครงสร้างสมองของมนุษย์

สมองเป็นอวัยวะหลักของระบบประสาทมนุษย์ โดยระบบประสาทส่วนกลางประกอบด้วย สมอง (brain) และไขสันหลัง (spinal cord)  ส่วนระบบประสาทส่วนท้ายประกอบด้วย เส้นประสาท (nerve) และปมประสาท (ganglion) 
สมองแบ่งออกเป็น
  1. สมองส่วนหน้า ประกอบด้วย 
– cerebrum ทำหน้าที่เป็นศูนย์ความฉลาดระดับสูง, ศูนย์ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อลาย (motor area), ควบคุมการเคลื่อนไหว, ศูนย์การวางแผนการพูดให้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์, ศูนย์รับความรู้สึกระดับแรก
ศูนย์การรับรสที่มาจากลิ้น, ศูนย์กลางการได้ยินและแปลความหมาย และศูนย์การมองเห็น
– olfactory bulb ทำหน้าที่รับกลิ่น
– thalamus ทำหน้าที่เชื่อมข้อมูลที่มาจากส่วนล่างกับเซรีบรัม และเป็นศูนย์รับความเจ็บปวด
– hypothalamus ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางควบคุมระบบประสาทอัตโนวัติ (autonomic center), ควบคุมการทำงานของต่อมใต้สมองผ่านฮอร์โมน, เป็นศูนย์หิวและอิ่ม, ควบคุมสมดุลร่างกายและสมดุลน้ำ (ไข้/ กระหายน้ำ),
ควบคุมการหลับและตื่น, ทำงานร่วมกับสมองส่วน amygdala ในการควบคุมพฤติกรรมทางอารมณ์และความรู้สึกทางเพศ
  1. สมองส่วนกลาง ประกอบด้วย 
– midbrain/ optic lobe ทำหน้าที่รับและรวบรวมข้อมูลด้านความรู้สึกจากสมองส่วนล่างส่งต่อไปยังสมองส่วนหน้า และควบคุมการเคลื่อนไหวและการปิด-เปิดของม่านตา 
  1. สมองส่วนท้าย ประกอบด้วย 
– pons ทำหน้าที่ ทำงานร่วมกับ medulla oblongata ในการหายใจ, ควบคุมจังหวะและรูปแบบการหายใจ,ควบคุมปริมาตรการหายใจเข้าให้เหมาะสม, ควบคุมการทำงานของการเคี้ยว, ควบคุมการเคลื่อนไหว
ของลูกตา, ควบคุมการแสดงสีหน้า และควบคุมการได้ยินและทรงตัว
– medulla oblongata ทำหน้าที่ศูนย์ควบคุมการหายใจ = สั่งให้เกิดการหายใจเข้า-ออก, ควบคุมการทำงานของเพดานอ่อนคอหอย และทางเดินอาหารส่วนบน, ควบคุมการทำงานของประสาทอัตโนวัติในช่องอก/ ช่องท้อง เช่นการเต้นของหัวใจ, ควบคุมการทำงานของกล่องเสียง, ควบคุมการทำงานของลิ้น และเป็นศูนย์ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์ (ไอ จาม สะอึก)
– cerebellum ทำหน้าที่ควบคุมการประสานงานของกล้ามเนื้อหลายชุด, ควบคุมการทรงตัว (แอลกอฮอล์มีผลต่อการทำงานของ cerebellum), กลั่นกรองข้อมูลการเคลื่อนไหวจากเซรีบรัมเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ,
และควบคุมการประสานงานกันระหว่างการใช้แขนขากับนัยน์ตา
เหลือเวลาอีก
ชั่วโมง
นาที
วินาที
ชั่วโมง
นาที

ดีลดี ดีลเดียวก่อนหมดวันแห่งความรัก สมัครเลย

วันนี้เท่านั้น! รับ ID Book ฟรีทันที

ที่สาขาออนดีมานด์

พี่ออนดี้ส่งโมเมนต์สุดพิเศษให้น้อง

ต้อนรับวันวาเลนไทน์

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

พบกับข้อเสนอพิเศษสำหรับลูกค้าเก่า

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !

นับถอยหลังก่อนสอบเข้าเตรียมอุดม (9 มี.ค. 67)

Days
ส่วนลดสูงสุด 500 บาท
3 ชม สุดท้ายแล้วสมัครคอร์เลย
ส่วนลดสูงสุด 1,000 บาท
รับฟรี! ชุดแนวข้อสอบ TPAT3
วันสุดท้ายแล้ว
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
โปรสุดท้าย NETSAT
เพื่อน้องมข. อีก 14 วันก่อนสอบ
โปรสุดท้าย เพื่อน้อง TU
อีก 1 เดือน ก่อนสอบ
ด่วน LIVEติว เลข โค้งสุดท้าย
ก่อนสอบเตรียมอุดมฯ