สรุปเนื้อหา ระบบหายใจของมนุษย์ ม.5

ระบบหายใจของมนุษย์ ม.5 | ตัวอย่างคอร์สเรียน ชีวะ ม.ปลาย | OnDemand

รายละเอียดคอร์ส ชีววิทยา ม.ปลาย เนื้อหา การย่อยอาหารและการดูดซึมอาหาร สอนโดย พี่วิเวียน ออนดีมานด์ เข้าใจง่าย จำได้นาน ทำข้อสอบได้จริง มีเทคนิคช่วยจำ “Bio Map” เป็นตัวช่วย
– สอนเนื้อหาทุกเรื่องอย่างละเอียด
– สอนจับประเด็น คิดอย่างเป็นระบบ
– เนื้อหากระชับ ครบถ้วน ครอบคุลมสนามสอบแข่งขัน – “Bio Map” จะเป็นตัวช่วยให้น้องๆ เข้าใจ และจัดลำดับความคิดได้อย่างเป็นระบบ
– “ตำราพูดได้” เพื่อให้น้องสามารถดูคลิปจากในหนังสือเรียน เพื่อช่วยให้น้องๆ เข้าใจได้ ภายใน 3 นาที

0:00:00 – 0:06:36 กลไกการลำเลียงแก๊ส CO2,CO
0:06:36 – 0:08:54 การรักษาเมื่อได้รับแก๊ส CO เข้าไป
0:08:54 – 0:17:47 เฉลยข้อสอบการลำเลียงแก๊ส

การแลกเปลี่ยนแก๊สในร่างกายของคน

การแลกเปลี่ยนแก๊สในร่างกายของคนเกิดขึ้น 2 แห่งคือที่ปอดและที่เนื้อเยื่อ โดยมีเซลล์เม็ดเลือดแดง และ พลาสมาในเส้นเลือดฝอยเป็นตัวกลางในการลำเลียงก๊าซไปยังปอดและเนื้อเยื่อ ก๊าซที่ถูกลำเลียงโดยเลือด มี 2 ชนิด คือ  
  1. O2 ลำเลียงเข้าสู่ร่างกาย จากปอด เข้าสู่เลือด แล้วกระจายไปยังเนื้อเยื่อต่างๆ 
  2. CO2 ลำเลียงออกจากร่างกาย จากเนื้อเยื่อต่างๆเขาสู่เลือด แล้วลำเลียง ไปขับออกนอกร่างกายที่ปอด  

1. การแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจน

ก๊าซออกซิเจนเป็นก๊าซที่มีความสำคัญ คือ ถูกนำไปใช้ในกระบวนการเผาผลาญสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน หรือกระบวนการหายใจระดับเซลล์ กลไกการลำเลียงออกซิเจนมี 2 วิธี คือ 
  1. จับกับ Hemoglobin เป็นหลัก (97%) 
  2. ละลายใน Plasma (3%)  

การแลกเปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

คาร์บอนไดออกไซด์เป็นผลที่เกิดขึ้นจากการเผาผลาญสารอาหารของร่างกาย ร่างกายจึงจำเป็นต้องลำเลียง ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากร่างกาย กลไกการลำเลียงคาร์บอนไดออกไซด์มี 3 วิธีคือ  
  1. ละลายใน พลาสมา ของเซลล์เม็ดเลือดแดง (7%)  
  2. จับกับ ฮีโมโกลบิน ในเซลล์เม็ดเลือดแดง (23%)  
  3. จับกับ น้ำในเซลล์เม็ดเลือดแดง (70%) 

ความเป็นพิษของคาร์บอนมอนออกไซด์(Carbonmonoxide toxicity)

  1. ก๊าซบางชนิดสามารถแย่งจับกับฮีโมโกลบินได้เช่น ก๊าซคาร์บอนมอนออกไซด์(CO) โดยจะจับกันแน่นไม่ปล่อย เหมือนกับออกซิเจน และจับในตาแหน่งเดียวกับออกซิเจน  
  2. คาร์บอนมอนออกไซด์มีความสามารถในการจับฮีโมโกลบินดีกว่าออกซิเจนประมาณ 200-300 เท่า  
  3. มักพบในผู้ที่อยู่ที่ที่มีการเผาไหม้และอากาศไม่ถ่ายเท เช่น รถยนต์ 
  4. หากได้รับ CO จะทำให้ Hemoglobin ถูกแย่งจับ จึงไม่เกิด Oxyhemoglobin (ซึ่งเป็นการลาเลียงก๊าซออกซิเจน) ซึ่งมีผลทำให้เกิดภาวะร่างกาย ขาดออกซิเจน มีอาการ คือ วิงเวียน หน้ามืด และหากได้รับปริมาณมากเป็นเวลานาน จะเสียชีวิตได้ 
  5. ความรุนแรงขึ้นอยู่ กับเวลา ได้รับ และความเข้มข้นของคาร์บอนมอนออกไซด์
เหลือเวลาอีก
ชั่วโมง
นาที
วินาที
ชั่วโมง
นาที

ดีลดี ดีลเดียวก่อนหมดวันแห่งความรัก สมัครเลย

วันนี้เท่านั้น! รับ ID Book ฟรีทันที

ที่สาขาออนดีมานด์

พี่ออนดี้ส่งโมเมนต์สุดพิเศษให้น้อง

ต้อนรับวันวาเลนไทน์

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

พบกับข้อเสนอพิเศษสำหรับลูกค้าเก่า

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที

เหลือเวลา

ชั่วโมง
นาที
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !

นับถอยหลังก่อนสอบเข้าเตรียมอุดม (9 มี.ค. 67)

Days
ส่วนลดสูงสุด 500 บาท
3 ชม สุดท้ายแล้วสมัครคอร์เลย
ส่วนลดสูงสุด 1,000 บาท
รับฟรี! ชุดแนวข้อสอบ TPAT3
วันสุดท้ายแล้ว
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
สิ้นสุดการรอคอย สิทธิพิเศษเฉพาะคุณ TCAS DEK68 เวอร์ชั่นใหม่ มาแล้ว !
โปรสุดท้าย NETSAT
เพื่อน้องมข. อีก 14 วันก่อนสอบ
โปรสุดท้าย เพื่อน้อง TU
อีก 1 เดือน ก่อนสอบ
ด่วน LIVEติว เลข โค้งสุดท้าย
ก่อนสอบเตรียมอุดมฯ